นานาประเทศมีการประกาศเป้าหมายในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมทั้งมี การก� ำหนดนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เข้มข้นมากขึ้น อาทิ การเก็บภาษีคาร์บอน รวมทั้งการน� ำเอาภาษีคาร์บอนมาเป็นเครื่องมือในการกีดกัน ทางการค้าผ่านมาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดน (Carbon Border Adjustment Mechanism: CBAM) การสนับสนุนการใช้รถยนต์ไฟฟ้า และแหล่งพลังงานสะอาด เป็นต้น ส่งผลให้บริษัทอุตสาหกรรมปิโตรเคมีชั้นน� ำทั่วโลกต่างขานรับนโยบายภาครัฐ โดยมีการประกาศเป้าหมายการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Carbon Emission) เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาที่ยั่งยืน บริษัทฯ ได้ประกาศเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขอบเขต 1 และ 2 สุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ในปี 2593 โดยมีแผนการด� ำเนินงานที่ชัดเจน เพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย Net Zero ตลอดจนการพัฒนา และน� ำเทคโนโลยีใหม่ที่ปล่อยคาร์บอนต�่ ำมาปรับใช้ ในกระบวนการผลิต และการขยายธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อช่วงชิงโอกาส ทางธุรกิจจากความต้องการผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น เพื่อมุ่งสู่ ความเป็นผู้น� ำ และมีบทบาทด้านความยั่งยืนระดับโลก การด� ำเนินการเพื่อให้สอดคล้องกับกฎระเบียบ และมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมใหม่อาจส่งผลให้บริษัทฯ มีต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น กระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน และความยั่งยืนในการด� ำเนินธุรกิจในอนาคต รวมทั้งความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้เสียที่มีต่อ การด� ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ แต่ในขณะเดียวกันการด� ำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิให้ เป็นศูนย์ นับเป็นโอกาสของบริษัทฯ ในการก้าวขึ้นเป็นผู้น� ำด้านการด� ำเนินธุรกิจตามแนวทางความยั่งยืน • ก� ำหนดโครงสร้าง Sustainability Governance Structure เพื่อก� ำกับและดูแลภาพรวมในการด� ำ เนินการด้ าน Decarbonization เพื่อให้บรรลุเป้าหมายระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวที่ปี 2593 ตั้งแต่ระดับกรรมการบริษัทฯ ระดับ บริหาร ซึ่งมีคณะกรรมการการพัฒนาอย่ างยั่งยืน กลุ่ มบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล (Sustainable Development Committee: SDC) ท� ำหน้าที่ผลักดัน ติดตามการด� ำเนินงาน Decarbonization ให้ได้ตาม เป้าหมาย รวมถึงตัดสินใจในการลงทุนเพื่อให้บริษัทฯ มีผลก� ำไรเติบโต ตลอดจนติดตามมาตรการภาครัฐ กฎหมาย กฎระ เบียบ ที่เกี่ยวข้ องกับการควบคุมปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างใกล้ชิด และในระดับปฏิบัติการ ผ่านคณะท� ำงานเฉพาะเพื่อผลักดันการด� ำเนินงานที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุม 7 ด้าน ประกอบด้วย (1) Asset & Efficiency Improvement (2) Low-Carbon Power & Heat (3) Portfolio Evolution (4) Circularity Business (5) New Technology & CVC Implementation (6) Offsetting และ (7) Decarbonization Center of Excellence การขับเคลื่อนกลยุทธ์ที่ก� ำหนดไว้ให้สัมฤทธิ์ผลเป็นสิ่งส� ำคัญในการน� ำไปสู่การบรรลุเป้าหมายระยะยาวขององค์กร ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่มีความซับซ้อนมากขึ้น อาจส่งผลกระทบต่อการขับเคลื่อนกลยุทธ์ ดังกล่าวให้ประสบความส� ำเร็จ บริษัทฯ จึงได้ติดตามแนวโน้ม ปัจจัยภายนอก และสภาพแวดล้อมทางธุรกิจเพื่อให้บริษัทฯ สามารถ บริหารจัดการความเสี่ยง และปรับตัวได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ปัจจัยความเสี่ยง ด้านความพร้อม ในการมุ่งสู่เป้าหมาย การปล่อย ก๊าซเรือนกระจก สุทธิให้เป็นศูนย์ มาตรการรองรับปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบต่อธุรกิจ ข้อมูลเพิ่มเติม ISR 2564 หน้า 109-123, 141-165, 167-172 One Report 2564 หน้า 84 ปัจจัยความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ • บริษัทฯ เข้าร่วมโครงการน� ำร่อง “โครงการก๊าซเรือนกระจก ภาคสมัครใจของประเทศไทย (Thai land Voluntary Emission Trading Scheme หรือ Thailand V-ETS)” เพื่อเตรียมความพร้อมในเรื่องการซื้อขายสิทธิการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย • พิจารณาน� ำการก� ำหนดราคาคาร์บอน (Internal Carbon Pricing) มาเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาการลงทุน รวมทั้ง พิจารณาก� ำหนดเกณฑ์เฉพาะส� ำหรับโครงการที่ลดการ ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก • ผลักดันสร้างความร่วมมือด้านเทคโนโลยีระหว่างบริษัทฯ ในกลุ่ม ปตท. ทั้งในด้านเทคโนโลยีดักจับและกักเก็บ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Capture and Storage: CCS) และพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) 81 INTEGRATED SUSTAINABILITY REPORT 2021 รายงานความยั่งยืนแบบบูรณาการ ประจำ �ปี 2564 FINANCIAL HIGHLIGHTS OUR STRATEGY IN ACTION ABOUT THIS REPORT APPENDIX OUR BUSINESS
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=