ในสภาวะเศรษฐกิจสังคมที่มีความผันผวน ประกอบกับผลกระทบจากปัจจัยภายนอกต่างๆ ที่รุนแรง เช่น การเข้ามาของผู้เล่นรายใหม่ การแข่งขันทางการตลาด การแพร่ระบาด ของโควิด 19 พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป การเกิดแนวโน้มความปกติใหม่ ส่งผลให้บริษัทฯ ต้องเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้ธุรกิจมีความเข้มแข็ง และมีความยืดหยุ่น (Resilience) และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้สามารถ ด� ำเนินธุรกิจภายใต้ความท้าทาย และความผันผวนของสถานการณ์จากปัจจัยภายนอก และเติบโตได้อย่างยั่งยืน ภายใต้สถานการณ์ภายนอกที่มีความผันผวนสูง หากบริษัทฯ ไม่สามารถรักษา และยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน จะส่งผลให้สูญเสียความสามารถในการสร้างรายได้ ไม่สามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้เสีย • ปรับปรุงประสิทธิภาพการด� ำเนินงาน และสร้างมูลค่าเพิ่ม ผ่านโครงการ MAX Infinity อย่างต่อเนื่อง และบริหารจัดการ แบบองค์รวมผ่านโครงการ MTP Integration ซึ่งเป็นการสร้าง Synergy ระหว่างโรงงานต่างๆ ภายในกลุ่มบริษัทฯ และ ภายในกลุ่ม ปตท. รวมถึง Supplier และลูกค้า เพื่อเป็น การเพิ่มศักยภาพ และความสามารถในการแข่งขันใน 5 ด้านหลัก ได้แก่ (1) Supply Chain Optimization (2) Polymer Marketing and Logistic Optimization (3) Energy and Utility Optimization (4) Value Added Enhancement และ (5) Value Maintenance นอกจากนั้น บริษัทฯ ยกระดับการด� ำเนินงานด้านนวัตกรรม รวมถึง การน� ำเทคโนโลยีใหม่ๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัล มาปรับปรุงโรงงานให้ทันสมัย พัฒนากระบวนการผลิต ให้เป็นแบบ Smart Plant เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และลดต้นทุน • ด� ำเนินโครงการ FiT เพื่อปรับปรุงกระบวนการท� ำงาน (Lean & Process Improvement) ให้มีประสิทธิภาพ และความคล่องตัวสูง ช่วยลดความเสี่ยง และค่าใช้จ่าย • การบูรณาการเชื่อมโยงธุรกิจ และการต่อยอดผลิตภัณฑ์ ให้เกิดมูลค่าสูงสุด (Integration & Diversification) ผ่านการด� ำเนินการโครงการลงทุนต่างๆ โดยมุ่งเน้น การบริหารจัดการด้านวัตถุดิบ ปรับปรุงหน่วยผลิต และ โครงสร้ างพื้นฐานให้มีความยืดหยุ่นในการใช้วัตถุดิบ (Feedstock Flexibility) และรักษาความสามารถทางการ แข่งขันให้ต้นทุน (Cost Competitiveness Enhancement) อยู่ในระดับ 2nd Quartile เป็นอย่างน้อย ปัจจัยความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ปัจจัยความเสี่ยง ด้านความสามารถ ในการแข่งขัน มาตรการรองรับปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบต่อธุรกิจ ข้อมูลเพิ่มเติม ISR 2564 หน้า 144-146, 155-163, 223-229 One Report 2564 หน้า 82-83 ปัจจัยความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ • การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนการผลิต โดยการลดค่าใช้จ่ายในงานด้านการซ่อมบ� ำรุง ลดกระบวนการ ท� ำงานที่ซ�้ ำซ้อน แต่ยังคงรักษาไว้ซึ่งเสถียรภาพในกระบวนการผลิต (Plant Reliability) และการบริหารจัดการพลังงาน และระบบ สาธารณูปการให้มีประสิทธิภาพสูงสุด มีการใช้งานอย่าง คุ้มค่า ลดการเกิดการสูญเสียพลังงาน และการเกิดมลภาวะ • สร้างความมั่นคงด้านการขายและการตลาด (Sales &Marketing) ในระยะยาว ด้วยการเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด ขยายตลาด ฐานที่มั่นหลัก (Home Base) และสร้างการขายให้เข้มแข็ง ควบคู่การขยายโอกาสในการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ (Strategic Market) เพื่อเป็นการสร้างความ คล่องตัวในการขาย และรองรับโอกาสทางธุรกิจ • ปรับ Product Portfolio สร้างมูลค่าเพิ่มจากการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่าสูงขึ้น (High Value Product: HVP) และการใช้งานผลิตภัณฑ์ในหลากหลายรูปแบบตามกลยุทธ์ ธุรกิจที่มุ่งเน้นตลาด (Market-Focused Business) รวมทั้ง แสวงหาโอกาสพัฒนาธุรกิจใหม่ตามแนวโน้ม Megatrends เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดที่สามารถตอบสนองกับ ความต้องการของลูกค้าปลายทางมากขึ้น • การลงทุนในธุรกิจเคมีภัณฑ์พิเศษที่มีมูลค่าสูง (High Value Business: HVB) โดยมุ่งเน้นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีอัตรา การเจริญเติบโตสูง ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค และปลดปล่อยคาร์บอนต�่ ำ 83 INTEGRATED SUSTAINABILITY REPORT 2021 รายงานความยั่งยืนแบบบูรณาการ ประจำ �ปี 2564 FINANCIAL HIGHLIGHTS OUR STRATEGY IN ACTION ABOUT THIS REPORT APPENDIX OUR BUSINESS
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=