GC_ISR_2021

ภัยธรรมชาติที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีแนวโน้มการเกิด และ ทวีความรุนแรงมากขึ้นโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) เผยว่า ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา ภัยพิบัติทางสภาพอากาศ อาทิ น�้ ำท่วม คลื่นความร้อน ภัยแล้ง มีความถี่การเกิดเพิ่มขึ้น 5 เท่า และความรุนแรงที่สร้างความเสียหายมากขึ้นถึง 7 เท่า ซึ่งภัยพิบัติทางธรรมชาติ ที่ทวีความรุนแรงขึ้นนี้ จะส่งผลกระทบต่อทรัพย์สิน ตลอดจนความต่อเนื่องในการด� ำเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ หากบริษัทฯ ไม่มีการปรับตัว และเตรียมการรับมือไว้อย่างเพียงพอ ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่มีความถี่ และความรุนแรงเพิ่มขึ้นอาจส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักทางธุรกิจ และกิจกรรมส� ำคัญของบริษัทฯ รวมทั้งอาจส่งผลกระทบต่อทรัพย์สิน และความปลอดภัยของพนักงาน หากบริษัทฯ ไม่มีการปรับตัว และเตรียมการรับมือไว้ อย่างเพียงพอ • บริษัทฯ ท� ำการฝึกซ้อมแผนการบริหารความต่อเนื่อง ทางธุรกิจในสถานการณ์สมมุติที่แตกต่างกันไปทั้งในระดับ องค์กร ระดับกลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์ รวมถึงบริษัทในกลุ่ม เพื่อให้มั่นใจว่าผู้บริหาร และพนักงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ ถึงบทบาทหน้าที่และสิ่งที่ต้องปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติการณ์ขึ้น และช่วยให้สามารถบ่งชี้ถึงข้อบกพร่องต่างๆ ในการด� ำเนิน มาตรการส� ำรอง เพื่อจะได้ท� ำการปรับปรุงแก้ไขก่อนที่จะเกิด อุบัติการณ์ขึ้นจริง • พัฒนาระบบ Incident Management System (IMS) เพื่อจัดการข้อมูลอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ภาวะฉุกเฉิน ขยายความรุนแรงเป็ นภาวะวิกฤต และประกาศใช้ แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCP) โดยผู้บริหารสามารถติดตาม สถานการณ์ ดูรายละเอียดของอุบัติการณ์ สถานที่เกิดเหตุ ตลอดจนบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อให้ผู้บริหารใช้ ประกอบการตัดสินใจ และสั่งการได้อย่างเหมาะสม ปัจจัยความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ ปัจจัยความเสี่ยง จากการปรับตัว เพื่อรับมือวิกฤต ภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ มาตรการรองรับปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบต่อธุรกิจ ข้อมูลเพิ่มเติม One Report 2564 หน้า 87 ปัจจัยความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ • จัดให้มีการอบรมหลักสูตร Risk & Disaster Management เพื่อให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติในรูปแบบต่างๆ และเตรียมความพร้อมรับมือ กับภัยธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้น • ร่วมกับบริษัทที่ปรึกษาในการประเมินโอกาสการเกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติในอนาคต และคาดการณ์ผลกระทบทั้งต่อ ทรัพย์สินและการด� ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อเป็นข้อมูล ส� ำหรับเฝ้าระวัง และเตรียมการรองรับสถานการณ์ความเสี่ยง ภายใต้สถานการณ์ภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นได้ โดยได้ด� ำเนินการ ตามมาตรฐานสากลภายใต้กรอบของ Task Force on Cl imate-Related Financial Disclosures (TCFD) เพื่อเป็นการประเมินผลกระทบด้านการเงินที่เกี่ยวข้องกับ สภาพภูมิอากาศ 89 INTEGRATED SUSTAINABILITY REPORT 2021 รายงานความยั่งยืนแบบบูรณาการ ประจำ �ปี 2564 FINANCIAL HIGHLIGHTS OUR STRATEGY IN ACTION ABOUT THIS REPORT APPENDIX OUR BUSINESS

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=